สายพานลำเลียงและ รถ agv
ระบบสายพานลำเลียง (Belt Conveyor System)
ระบบสายพานลำเลียงมี 4 ประเภทดังนี้
1. ระบบสายพานลำเลียงแบบพลาสติก เป็นระบบสายพานลำเลียงชิ้นงานในแนวลาดเอียงสำหรับไลน์การผลิตที่มีความต่างระดับ ซึ่งข้อดีของระบบสายพานลำเลียงแบบพลาสติกนี้ คือ สามารถลำเลียงผ่านน้ำหรือลำเลียงชิ้นงานที่เปียกได้ โดยการลำเลียงจะมีลักษณะแนวลาดเอียง ลำเลียงจากที่ต่ำขึ้นสู่ที่สูง ซึ่งความลาดเอียงจะเริ่มที่ 10 องศา และไม่เกิน 45 องศา สำหรับสายพานลำเลียงแบบพลาสติกเหมาะสำหรับงานลำเลียงประเภทอาหาร บรรจุภัณฑ์ ยาง เป็นต้น
2.ระบบสายพานลำเลียงแบบผ้าใบ เป็นสายพานลำเลียงที่มีคุณสมบัติทนความร้อนได้
และมีความยืดหยุ่นค่อนข้างน้อยเมื่อรับแรงดึง
และลักษณะการทำงานจะลำเลียงชิ้นงานหรือวัสดุจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง
โดยสามารถขยับตัวระบบลำเลียงให้ตรงกับไลน์การผลิตได้
เหมาะสำหรับงานลำเลียงประเภทยาง อาหาร เป็นต้น
3.ระบบสายพานลำเลียงแบบ
PVC เป็นระบบสายพานลำเลียงที่เหมาะสำหรับชิ้นงานน้ำหนักเบา
ซึ่งข้อดีของระบบสายพานลำเลียงแบบพีวีซี คือ สามารถทนความร้อนและมีราคาถูก
เหมาะสำหรับงานลำเลียงในอุตสาหกรรมอาหาร
สินค้าที่บรรจุหีบห่อที่มีน้ำหนักเบาและต้องการความสะอาด
4.ระบบสายพานลำเลียงสำหรับเครื่องตรวจโลหะ เป็นระบบสายพานลำเลียงที่ลำเลียงวัสดุเข้าเครื่องตรวจโลหะ โดยมีระบบสายพานลำเลียง 2 แบบ คือ ระบบสายพานลำเลียงแบบพลาสติก และสายพานลำเลียงแบบ PVCสายพาน Chip Conveyor เป็นอุปกรณ์ลำเลียงอีกรูปแบบหนึ่งที่ใช้ลำเลียงวัสดุเศษชิ้นงาน เช่น เศษโลหะจากงานเจาะ งานตัด งานเจียร เป็นต้น ซึ่งเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ และนิยมใช้มากในเครื่องจักร ระบบ cnc เนื่องจากราคาไม่แพง และสามารถออกแบบให้เหมาะกับการใช้งานตามต้องการได้
รถ AGV ในงานอุตสาหกรรม
รถขนส่งเคลื่อนที่อัตโนมัติ AGV มีหลายชนิดให้เลือกตามความเหมาะสมของการใช้งานตั้งแต่
การใช้งานแบบลากจูง container
,แบบยก container จนถึงแบบรถยก (Forklift) ในลักษณะต่างๆ
โดยมีระบบควบคุมเส้นทางและนำทางการขับเคลื่อน (The Vihicle Navigation & Guidance System) ด้วยการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กที่ฝังอยู่ในพื้นผิวทางเดินรถ AGV หรือแบบควบคุมโดยการ
ตรวจจับด้วยแสงเลเซอร์เพื่อให้รถ AGV สามารถเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางที่กำหนดได้
รถ AGV แต่ละชนิดรับน้ำหนักได้ต่างกันตั้งแต่ 400-1,200 กิโลกรัม
หรือมากกว่า ขึ้นอยู่กับการใช้งานแต่ละประเภท โดยมีความเร็วในการขับเคลื่อน 1.2-1.7 เมตร
ต่อวินาที
รถ AGV ทุกคันจะติดตั้งระบบเลเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวที่ประกันได้ว่ามีระดับความปลอดภัยสูงสุด
โดยติดตั้งทั้งด้านหน้าและหลังของตัวรถ และแบ่งการเตือนภัยออกเป็น 2 พื้นที่
คือ พื้นที่เตือนภัย( Warning
Area)และพื้นที่หยุด (Stopping Area) กล่าวคือ
ถ้ามีบุคคลเดินเข้าในเขตพื้นที่เตือนภัย รถ AGV จะลดความเร็วลงจากความเร็วสูงสุด
(Maximum Speed) เป็นลักษณะแบบเคลื่อนที่ช้า
(Crawling Speed) และถ้าตรวจจับได้ในพื้นที่หยุด
รถ AGV จะหยุดทันที
โดยระยะทางของพื้นที่เตือนและพื้นที่หยุด จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระดับความเร็วของรถ AGV
ทั้งนี้แบตเตอรี่ที่ใช้เป็นแบบ Maintenace Free สามารถใช้งานได้ติดต่อกันแบบต่อเนื่องนานถึง 8-10 ชั่วโมง
โดยไม่ต้องนำแบตเตอรี่ออกจากตัวรถ
รถ AGV ทุกคันจะติดตั้งระบบเลเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวที่ประกันได้ว่ามีระดับความปลอดภัยสูงสุด
โดยติดตั้งทั้งด้านหน้าและหลังของตัวรถ และแบ่งการเตือนภัยออกเป็น 2 พื้นที่
คือ พื้นที่เตือนภัย( Warning
Area)และพื้นที่หยุด (Stopping Area) กล่าวคือ
ถ้ามีบุคคลเดินเข้าในเขตพื้นที่เตือนภัย รถ AGV จะลดความเร็วลงจากความเร็วสูงสุด
(Maximum Speed) เป็นลักษณะแบบเคลื่อนที่ช้า
(Crawling Speed) และถ้าตรวจจับได้ในพื้นที่หยุด
รถ AGV จะหยุดทันที
โดยระยะทางของพื้นที่เตือนและพื้นที่หยุด
จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระดับความเร็วของรถ AGV
ทั้งนี้แบตเตอรี่ที่ใช้เป็นแบบ Maintenace Free สามารถใช้งานได้ติดต่อกันแบบต่อเนื่องนานถึง 8-10 ชั่วโมง
โดยไม่ต้องนำแบตเตอรี่ออกจากตัวรถ รถ AGV ทุกคันจะติดตั้งระบบเลเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวที่ประกันได้ว่ามีระดับความปลอดภัยสูงสุด
โดยติดตั้งทั้งด้านหน้าและหลังของตัวรถ และแบ่งการเตือนภัยออกเป็น 2 พื้นที่
คือ พื้นที่เตือนภัย( Warning
Area)และพื้นที่หยุด (Stopping Area) กล่าวคือ
ถ้ามีบุคคลเดินเข้าในเขตพื้นที่เตือนภัย รถ AGV จะลดความเร็วลงจากความเร็วสูงสุด
(Maximum Speed) เป็นลักษณะแบบเคลื่อนที่ช้า
(Crawling Speed) และถ้าตรวจจับได้ในพื้นที่หยุด
รถ AGV จะหยุดทันที
โดยระยะทางของพื้นที่เตือนและพื้นที่หยุด
จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระดับความเร็วของรถ AGV
ทั้งนี้แบตเตอรี่ที่ใช้เป็นแบบ Maintenace Free สามารถใช้งานได้ติดต่อกันแบบต่อเนื่องนานถึง 8-10 ชั่วโมง โดยไม่ต้องนำแบตเตอรี่ออกจากตัวรถ
ประโยนช์ของรถ AGV
รถ AGV power stacker 1 คัน
สามารถขับเคลื่อนโดยไม่ต้องใช้พนักงานขับ จะสามารถประหยัด ค่าแรงคนงาน
ในการลงทุนปรับปรุงรถยกให้เป็นรถ AGV ประมาณเบื้องต้นว่า
มีค่าใช้จ่ายราว 300,000 ฿
ต่อคัน จะสามารถคืนทุนในเวลา
2ปี 6 เดือน
ถ้าใช้งาน 1 กะ:วัน
1ปี 3 เดือน
ถ้าใช้งาน 2 กะ:วัน
เพียง 10 เดือน
ถ้าใช้งาน 3 กะ:วัน
ซึ่งถ้าลงทุนใช้รถ AGV หลายคันทางบริษัทก็จะสามารถลดค่าใช้จ่ายได้อีกเป็นอัตราเพิ่มขึ้น
ใน กรณีศึกษา ที่มีการใช้คนงาน 6 คน และ
รถ Power stacker
3 คัน หากมีการใช้ AGV power stacker แทน
และใช้งานถึง 3 กะ
ปริมาณงานที่ได้จาก รถAGV
ก็จะเท่ากับ
ปริมาณงานของคนงานถึง 9 คน
นั่นคือผลกำไรที่ได้คืนมา ประมาณ 90,000 บาทต่อเดือน
หรือ 1,080,000 บาทต่อปี
ก็จะเท่ากับ
ปริมาณงานของคนงานถึง 9 คน
นั่นคือผลกำไรที่ได้คืนมา ประมาณ 90,000 บาทต่อเดือน
หรือ 1,080,000 บาทต่อปี
เพิ่มประสิทธิภาพและปริมาณการทำงาน
รถAGV เริ่มงานได้ตรงเวลา
ตั้งแต่ 8 โมงเช้า
ถึง 5 โมงเย็นโดยไม่ต้องหยุดพัก
เข้าห้องน้ำ ทานกาแฟ สูบบุหรี่ หรือ คุยโทรศัพท์
รถAGV ไม่ลาหยุด หรือ
ลากิจ ไม่ขาดงานบ่อย งานจะเดินได้สม่ำเสมอ
กรณี รถเสียทางบริษัทมีบริการ Service online เป็นบริการที่รวดเร็ว
และมีค่าใช้จ่ายน้อย หรือถ้าต้อง มีการ service onsite เราก็สามารถบริการได้รวดเร็ว
เพราะเป็นช่างในเมืองไทย ไม่ต้องรอจากต่างประเทศ
เพราะเป็นช่างในเมืองไทย
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น